จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่ ราคา 324 บาท

ราคา

324

บาท

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

ราคา

324

บาท

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ผู้แต่ง : สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ปีที่พิมพ์ : 2566
จำนวนหน้า : 792 หน้า
ขนาด : 14.5 x 21 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786168314159
สำนักพิมพ์บัณฑิตอักษร

คำนำ
การศึกษากฎหมายอาญา ที่สำคัญ คือ ต้องเข้าใจองค์ประกอบ
ความผิดเพื่อนำมาพิจารณาประกอบพฤติการณ์แห่งคดี ว่าการกระทำครบ
องค์ประกอบความผิดชื่งจะต้องรับโทษหรือไม่เพียงใด องค์ประกอบความผิด
บนฐานใกล้เคียงกัน ผู้เขียนจึงได้จัดกลุ่มสร้างความเชื่อมโยง จัดเป็นหมวดหมู่
สำหรับความผิดที่มีองค์ประกอบความผิดใกล้เคียงกัน เพื่อสะดวก ง่ายต่อการ
จดจำ ทำความเข้าใจ แล้วนำไปประยุกในการวินิจฉัยข้อสอบและปฏิบัติงาน
ทั้งได้ย่อมหลักกฎหมาย คำพิพากษาศาลฎีกาที่เป็นหลักสำคัญ ทันสมัย พร้อม
น้นหลักเกณฑ์การอธิบายหลักกฎหมายแต่ละมาตราที่จำเป็นต้องใช้ประกอบ
ในการตอบข้อสอบ เพื่อความสมบูรณ์แบบในการวินิจฉัยปัญหาในการพิมพ์ครั้งนี้
ผู้เขียนได้เพิ่มแนวคำพิพากษาศาถฎีกาทันสมัยล่าสุด โดยหวังว่าจะเป็นประโยชน์
แก่นักศึกษาและผู้ปฏิบัติงานด้านกฎหมาย หากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้เขียน
ขอน้อมรับเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงต่อไป
สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
ผู้พิพากษา

สารบาญ
บทที่ 1 การใช้กฎหมายอาญา (ม2 – 17)
1.1 การใช้กฎหมายอาญา (ม.2)
1.2 กฎหมายย้อนหลังเป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิด (ม.3 ว.1)
1 3 ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา (ม.4 – 11)
บทที่ 2 โทษ (ม.18 – 38, 51 – 58)
2.1 โทษ (ม.18 – 31)
2.2 การริบทรัพย์สิน (ม.32 – 35)
2.3 การขอคืนของกลางที่ศาลสั่งริบ (ม.36)
2.4 การเพิ่มโทษ (ม.51)
2.5 การลดโทษประหารชีวิต (ม.52)
2.6 การลดโทษจำคุกตลอดชีวิต (ม.53)
2.7 ศาลกำหนดโทษก่อนจึงเพิ่มหรือลดโทษ (ม.54)
2.8 การยกโทษจำคุก (ม.55)
2.9 รอการลงโทษ รอการกำหนดโทษ (ม.56)
2.10 การบวกโทษ (ม.58)
บทที่ 3 ความรับผิดในทางอาญา
3.1 โครงสร้างความรับผิดในทางอาญา (ม.59)
3.2 สำคัญผิดในข้อเท็จจริง (ม.62)
3.3 การกระทำโดยพลาด (ม.60)
34 การกระทำโดยประมาท (ม.59 ว.4)
3.5 การงดเว้น การที่ต้องกระทำเพื่อป้องกันผล (ม.59 ว.ท้าย)
3.6 ผลของการกระทำจะต้องสัมพันธ์กับการกระทำ
3.7 การกระทำโดยป้องกัน (ม.68)
3.8 การกระทำด้วยความจำเป็น (ม.67,69)
3.9 เหตุยกเว้นโทษ กรณีวิกลจริต (ม 65)
3.10 เหตุลดโทษ กรณีการกระทำความผิดระหว่างสามีภริยา
หรือญาติ (ม.71)
311 เหตุลดโทษ กรณีบันดาลโทสะ (ม.72)
บทที่ 4 พยายาม ตัวการ ผู้สนับสนุน พยายามกระทำความผิค
(ม.80-93)
4.1 พยายามกระทำความผิด (ม.80)
4.2 พยายามซึ่งไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ (ม.81)
4.3 ยับยั้งหรือกลับใจ (ม.82)
4.4 ตัวการ (ม.83)
4.5 การใช้ (ม.84)
4.6 ผู้สนับสนุน (ม.86)
4.7 โฆษณา หรือประกาศ (ม.88)
4.8 กรรมเดียว หลายกรรม (ม.90 – 91)
49 การเพิ่มโทษ (ม.92, 93, 94)
บทที่ 5 ความผิดฐานดูหมิ่น และหมิ่นประมาท
5.1 ความผิดฐานดูหมิ่นและหมิ่นประมาท
(ม.112, 133 – 134)
5.2 ความผิดฐานดูหมิ่นเจ้าพนักงาน (ม.136)
5.3 เหตุยกเว้นความผิด (ม.136)
5.4 ดูหมิ่นศาลหรือผู้พิพากษา (ม 198)
บทที่ 6 ความผิดเกี่ยวกับความเท็จ (ม.137, 161 – 162, 172 – 180,267)
6.1 แจ้งความเท็จ (ม.137)
6.2 กรณีแจ้งความเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญา (ม.172)
6 3 แจ้งเท็จว่ามีการกระทำความผิดเกิดขึ้น (ม.173)
6.4 ความผิดฐานฟ้องเท็จ (ม.175)
6.5 เหตุลดหย่อนโทษ (ม.176)
6.6 เบิกความเท็จ (ม.177)
6.7 ทำพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ (ม.179)
6.8 การนำสืบหรือแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ (ม.180)
6.9 ความผิดฐานเจ้าพนักงานปลอมเอกสาร (ม.161)
6.10 ความผิดฐานเจ้าพนักงานทำเอกสารเท็จ (ม.162)
6.11 ความผิดฐานแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความเท็จ (ม.267)
บทที่ 7 ความผิดเกี่ยวกับการให้ เรียก รับ สินบน ปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต
(ม.143 – 152, 157,200)
7.1 ฐานเป็นคนกลางเรียกสินบน (ม.143)
7.2 ความผิดฐานให้สินบนเจ้าพนักงาน (ม.144)
7.3 แสดงตนและกระทำการเป็นเจ้าพนักงาน (ม.145)
7.4 ความผิดฐานเจ้าพนักงานยักยอก (ม.147)
7.5 เจ้าหนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ (ม.148)
7.6 ความผิดฐานเจ้าพนักงานเรียกรับสินบน (ม.149)
7.7 เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยทุจริต (ม.151)
7.8 เข้ามีส่วนได้เสียในกิจการที่ตนมีหน้าที่ (ม.152)
7.8 ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ (ม.157)
7.10 ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อช่วยบุคคลอื่น (ม.200)
บทที่ 8 ความผิดเกี่ยวกับการต่อสู้ขัดขวาง ข่มขืนใจ ละทิ้งงาน
(ม.138- 139, 165, 166,203)
8.1 ฐานต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน (ม. 138)
8.2 ฐานข่มขืนใจเจ้าพนักงาน (ม. 139)
8.3 ความผิดตาม ม 138 และ ม 139 มีเหตุฉกรรจ์ตาม
(ม.140)
8.5 ขัดขืนคำบังคับซึ่งให้มาเพื่อให้ถ้อยคำ (ม.168)
8.6 ชัดขืนคำบังคับให้ให้ถ้อยคำ (ม.169)
8.7 ขัดขืนหมายหรือคำสั่งศาล (ม.170)
บทที่ 9 ความผิดเกี่ยวกับการทำลาย ช่อนเวัน (ม.141,159,199)
9.1 ฐานทำให้ตราหรือเครื่องหมายประทับเสียหาย (ม.141)
9.2 ฐานทำลายทรัพย์สินที่ยึครักษา (ม.142)
9.3 ฐานเจ้าพนักงานทำลายทรัพย์หรือเอกสาร (ม.158)
94 ฐานทำลายพยานหลักฐาน (ม.184)
9.5 ฐานทำลายทรัพย์หรือเอกสารที่ส่งต่อศาล (ม 185
96 ฐานทำลายทรัพย์ที่ถูกยึดหรืออายัด (ม 187)
9.7 ฐานทำลายพินัยกรรมหรือเอกสาร (ม. 188)
9.8 ฐานทำลายศพ และความผิดเกี่ยวกับศพ
(ม. 199,366/1-366/4)
บทที่ 10 ความผิดเกี่ยวกับการหลบหนี ศาสนา
(ม.189, 190 ว.1, 191 ว.1. 192)
10.1 ฐานช่วยผู้กระทำความผิดไม่ให้ต้องรับโทษ (ม.189)
10.2 ฐานหลบหนีที่คุมขัง (ม.190)
10.3 ฐานทำให้หลุดพันจากการคุมชัง (ม.204 – 205)
10.4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา (ม.206 – 208)
บทที่ 11 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุข : ภยันตราย ประชาชน
(ม.209-225, 228, 233, 236, 238)
11.1 อั้งยี่ (ม.209)
112 ช่องโจร (ม.210)
11.3 เข้าร่วมประชุม (ม.211)
11.4 จัดหา ชักชวน อุปการะ ช่วยจำหน่าย (ม.212)
11.5 สมาชิกที่อยู่ด้วยกัน (ม.213)
11.6 ประพฤติตนเป็นปกติธุระ (ม.214)
11.7 มั่วสุม (ม.215)
11.8 ไม่เลิกตามคำสั่ง (ม.216)
11.8 วางเพลิง (ม.217)
11.10 วางเพลิงเผาทรัพย์บางประเภท (ม.218)
11.11 ตระเตรียมวางเพลิง (ม.219)
11.12

ราคา

324

บาท

จำหนายโดย

ร้านหนังสือ Attorney285

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

จิ๊กซอว์ กฎหมายอาญา สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

Be the first to comment

Leave a Reply

Your email address will not be published.


*