
Sคำอธิบายกฎหมายลักษณะ ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์ ราคา 399 บาท
ราคา
399
บาท
ราคา
399
บาท
Sคำอธิบายกฎหมายลักษณะ ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์
ผู้แต่ง : ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 10 : สิงหาคม 2566
จำนวนหน้า: 460 หน้า
ขนาด : 18.5×26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786165812948
shucenter
สารบัญ
s
พร้อมคำอธิบายในส่วนของ พ.ร.บ.ว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540 และกฎหมายใหม่ที่เกี่ยวข้อง
ส่วนที่ 1 สัญญาซื้อขาย
บทที่ 1 หลักสัญญาและความสัมพันธ์ระหว่างหลักสัญญาและเอกเทศสัญญา
1. ความนำ
2. หลักอิสระในทางแพ่งและหลักเสรีภาพในการทำสัญญา
3. ความสัมพันธ์ระหว่างนิติกรรมและสัญญา
4. ความหมายและองค์ประกอบของสัญญา
5. การเกิดสัญญา
6. ความสมบูรณ์ของสัญญา
7. ความเป็นผลของสัญญา
8. การบังคับชำระหนี้ตามสัญญา
9. ความระงับแห่งหนี้
10. ความระงับแห่งสัญญา
11. บทสรุปหลักนิติกรรม-สัญญา
12. ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสัญญาและเอกเทศสัญญา
บทที่ 2 ลักษณะและองค์ประกอบของสัญญาซื้อขาย
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
4. องค์ประกอบที่เป็นสาระสำคัญของสัญญาซื้อขาย
5. องค์ประกอบเสริมของสัญญาซื้อขาย
6. สรุป
บทที่ 3 กระบวนการในการก่อให้เกิดสัญญาซื้อขาย
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. คำมั่นว่าจะซื้อหรือจะขาย
4. สัญญาจะซื้อจะขาย
5. สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด
6. การแยกระหว่างสัญญาจะซื้อจะขาย และสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด
7. สรุป
บทที่ 4 วัตถุของสัญญาซื้อขาย
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ทรัพย์สินที่ซื้อขายได้
4. ทรัพย์สินที่ซื้อขายไม่ได้
5. ปัญหาเกี่ยวกับวัตถุของสัญญาซื้อขาย
6. สรุป
บทที่ 5 ความสมบูรณ์ของ สัญญาซื้อขาย
1. ความนำ
2. ความเป็นโมฆะของสัญญาซื้อขาย
3. ความเป็นโมฆียะะของสัญญาซื้อขาย
4. สรุป
บทที่ 6 ผลทางทรัพย์ของสัญญาซื้อขาย
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ลักษณะของผลในทางทรัพย์
4. หลักการโอนกรรมสิทธิ์ในระบบกฎหมายไทย
5. ข้อยกเว้นหลักการโอนกรรมสิทธิ์
6. ผลของการโอนกรรมสิทธิ์
7. สรุป
บทที่ 7 ผลทางหนี้ของสัญญาซื้อขายในส่วนของผู้ขาย
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. หนี้หรือหน้าที่ของผู้ขาย
4. สิทธิของผู้ซื้อ
5. การใช้สิทธิของผู้ซื้อในการฟ้องร้องตามเวลาที่กฎหมายกำหนด
6. สรุป
บทที่ 8 ผลทางหนี้ของสัญญาซื้อขายในส่วนของผู้ซื้อ
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. หนี้ของผู้ซื้อ
4. สิทธิของผู้ขาย
5. สรุป
บทที่ 9 ความรับผิดในความชำรุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ลักษณะของความชำรุดบกพร่องตามกฎหมาย
4. ลักษณะที่ผู้ขายต้องรับผิด
5. ลักษณะของความรับผิด
6. ข้อยกเว้นความรับผิดโดยกฎหมาย
7. ข้อยกเว้นความรับผิดโดยสัญญา
8. ความแตกต่างระหว่างความชำรุดบกพร่องกับกรณีอื่นที่ใกล้เคียง
9. อายุความ
10. ข้อสังเกต
11. สรุป
บทที่ 10 ความรับผิดของผู้ขายเมื่อผู้ซื้อถูกรอนสิทธิ
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ลักษณะของการรอนสิทธิ
4. ผลของการรอนสิทธิ
5. ข้อยกเว้นความรับผิดในการรอนสิทธิ
6. ผลประการอื่น
7. อายุความ
8. ปัญหาเกี่ยวกับการรอนสิทธิ
9. สรุป
บทที่ 11 ข้อตกลงยกเว้นความรับผิดในความชำรุดบกพร่องหรือในการรอนสิทธิ
1. ความนำ
2. พิจารณาจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3. พิจารณาจากพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
4. ข้อตกลงยกเว้นในกรณีของการผิดสัญญาอื่น ๆ
5. สรุป
บทที่ 12 ประเภทของการซื้อขายทรัพย์สิน
1. ความนำ
2. ประเภทของการซื้อขายโดยพิจารณาถึงวิธีการในการเข้าทำสัญญา
3. ประเภทของการซื้อขายโดยพิจารณาถึงคุณสมบัติของทรัพย์อันเป็น
วัตถุแห่งสัญญา
4. ประเภทของการซื้อขายโดยพิจารณาถึงปริมาณของทรัพย์อันเป็น
วัตถุแห่งสัญญา
5. ประเภทของการซื้อขายโดยพิจารณาถึงตัวทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งสัญญา
6. ประเภทของการซื้อขายที่มีการขนส่ง
7. ประเภทของการซื้อขายที่อยู่ภายใต้บังคับเงื่อนไข
8. สรุป
บทที่ 13 การเปรียบเทียบสัญญาซื้อขายกับสัญญาอื่น
1. ความนำ
2. สัญญาซื้อขายกับสัญญาแลกเปลี่ยน
3. สัญญาซื้อขายกับสัญญาเช่าทรัพย์สิน
4. สัญญาซื้อขายกับสัญญาให้โดยเสน่หา
5. สัญญาซื้อขายกับสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
6. สัญญาซื้อขายกับสัญญาจำนำ
7. สัญญาซื้อขายกับสัญญาจ้างทำของ
8. สัญญาซื้อขายกับสัญญาเช่าซื้อ
9. สรุป
ส่วนที่ 2 สัญญาขายฝาก
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ลักษณะของสัญญาขายฝาก
4. ลักษณะในทางกฎหมายของสัญญาขายฝาก
5. กระบวนการในการก่อให้เกิดสัญญาขายฝาก
6. ความสมบูรณ์ของสัญญาขายฝาก
7. ความเป็นผลของสัญญาขายฝาก
8. บุคคลผู้มีสิทธิไถ่ทรัพย์สินตามสัญญาขายฝาก
9. บุคคลผู้มีหน้าที่ไถ่ทรัพย์สินคืนตามสัญญาขายฝาก
10. กำหนดเวลาสำหรับการไถ่ทรัพย์สินตามสัญญาขายฝาก
11. การกำหนดสินไถ่
12. วิธีการในการใช้สิทธิไถ่
13. ค่าฤชาธรรมเนียมการไถ่
14. ผลของการใช้สิทธิไถ่โดยชอบ
15. ผลของการไม่ใช้สิทธิไถ่หรือการใช้สิทธิไถ่โดยไม่ชอบ
16. บทเพิ่มเติมเนื้อหาจากพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
17. ความระงับแห่งสิทธิไถ่
18. สรุป
ส่วนที่ 3 สัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ
1. ความนำ
2. ลักษณะของสัญญาขายระหว่างประเทศ
3. ผลของการเป็นสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ
4. สรุป
ส่วนที่ 4 สัญญาแลกเปลี่ยน
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ลักษณะของสัญญาแลกเปลี่ยน
4. องค์ประกอบของสัญญาแลกเปลี่ยน
5. กระบวนการในการก่อให้เกิดสัญญาแลกเปลี่ยน
6. วัตถุของสัญญาแลกเปลี่ยน
7. ความสมบูรณ์ของสัญญาแลกเปลี่ยน
8. ความเป็นผลของสัญญาแลกเปลี่ยน
9. ข้อสังเกต
10. สรุป
ส่วนที่ 5 สัญญาให้โดยเสน่หา
1. ความนำ
2. ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
3. ลักษณะของสัญญาให้โดยเสน่หา
4. ขั้นตอนในการก่อให้เกิดสัญญาให้โดยเสน่หา
5. วัตถุของสัญญาให้โดยเสน่หา
6. วิธีการให้โดยเสน่หา
7. ความสมบูรณ์ของสัญญาให้โดยเสน่หา
8. ผลของสัญญาให้โดยเสน่หา
9. การถอนคืนการให้โดยเสน่หา
10. ข้อสังเกต
11. สรุป
Be the first to comment