การออกแบบโครงสร้างเหล็ก ราคา 395 บาท
ราคา
395
บาท
ราคา
395
บาท
เนื้อหาของแต่ละบท ประกอบด้วย คำอธิบายถึงส่วนโครงสร้าง พฤติกรรมและลักษณะการวิบัติของโครงสร้างส่วนนั้น ๆ ข้อกำหนดของมาตรฐานและตัวอย่างการออกแบบ ซึ่งให้ไว้ทั้งวิธีการคำนวณออกแบบตามวิธี ASD และวิธี LRFD ควบคู่กันไป อนึ่ง สูตรคำนวณออกแบบบางสูตรที่ได้ให้ไว้ในหนังสือเล่มนี้ไม่เหมือนกับสูตรของมาตรฐาน AISC ทั้งนี้เพราะผู้เขียนได้แปลงสูตรคำนวณนั้น ๆ เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับทุกประเทศทั่วโลก
การปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ. 2550 ผู้เขียนได้ปรับเนื้อหา เพิ่มทั้งตัวอย่างและคำอธิบายในแต่ละบทเพื่อให้ผู้ศึกษามีความเข้าใจมากขึ้น รวมทั้งได้นำมาตรฐานของ AISC/LRFD ปี ค.ศ.1999 มาพิจารณาเพื่อให้การคำนวณและออกแบบมีความทันสมัยยิ่งขึ้น
การปรับปรุงครั้งที่ 3 พ.ศ. 2553 ผู้เขียนได้ปรับปรุง เพิ่มเติมทั้งส่วนของเนื้อหาและส่วนของตัวอย่าง เพื่อให้หนังสือเล่มนี้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรที่สนใจศึกษา ตามที่ผู้เขียนได้ตั้งใจไว้
สารบัญ
บทที่ 1 โครงสร้างเหล็กและเหล็กโครงสร้าง 1 – 15
1.1 โครงสร้างเหล็ก – 1
1.2 เหล็กโครงสร้าง – 2
1.3 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ – 6
1.4 การออกแบบโครงสร้างเหล็ก – 7
1.5 น้ำหนักบรรทุกใช้งานในโครงอาคาร – 11
บทที่ 2 ส่วนโครงสร้างรับแรงดึง 16 – 44
2.1 ส่วนโครงสร้างรับแรงดึง – 16
2.2 รูปดัดของส่วนโครงสร้างรับแรงดึง – 16
2.3 ลักษณะวิบัติของส่วนโครงสร้างรับแรงดึง – 17
2.4 เนื้อที่หน้าตัดสุทธิ – 19
2.5 เนื้อที่หน้าตัดสุทธิประสิทธิผล – 22
2.6 ข้อกำหนดสำหรับส่วนโครงสร้างรับแรงดึง – 26
2.7 วิธีออกแบบส่วนโครงสร้างรับแรงดึง – 33
บทที่ 3 ส่วนโครงสร้างรับแรงอัด 45 – 90
3.1 ส่วนโครงสร้างรับแรงอัด – 45
3.2 รูปตัดของส่วนโครงสร้างรับแรงอัด – 46
3.3 พฤติกรรมการรับน้ำหนักของลักษณะิวิบัติ – 47
3.4 กำลังรับน้ำหนักของเสาเดี่ยว – เมื่อโก่งเดาะเนื่องจากแรงดัด – 49
3.5 กำลังรับน้ำหนักของเสาในโครงเฟรม – เสาโก่งเดาะเนื่องจากแรงดัด – 56
3.6 การโก่งเดาะเฉพาะแห่ง – 57
3.7 ข้อกำหนดสำหรับส่วนโครงสร้างแรงอัด -เมื่อโก่งเดาะเนื่องจากแรงดัด – 61
3.8 วิธีออกแบบส่วนโครงสร้างรับแรงอัด – 72
3.9 ส่วนโครงสร้างรับแรงอัด – เมื่อโก่งเดาะเนื่องจากแรงดัดและแรงบิด – 78
3.10 เสาประกอบ – 82
บทที่ 4 คานเหล็กรูปพรรณ 91 – 153
4.1 คาน – 91
4.2 พฤติกรรมการรับโมเมนต์ดัดของคาน – 92
4.3 ลักษณะวิับัติของคาน – 95
4.4 ข้อกำหนดสำหรับส่วนโครงสร้างรับแรงดัด-มาตรฐาน AISC/ASD – 97
4.5 ข้อกำหนดสำหรับส่วนโครงสร้างรับแรงดัด-มาตรฐาน AISC/LRFD – 102
4.6 ระยะแอ่นหรือโก่งตัวที่ยอมให้ – 110
4.7 กำลังต้านทานโมเมนต์ดัดประลัยที่ระบุสำหรับคานรูปดัดอื่น – 110
4.8 ผลการกระทำของน้ำหนักแบบจุด – 117
4.9 วิธีออกแบบคาน – 122
4.10 แผ่นเหล็กรองรับแรงกดสำหรับคาน – 133
4.11 กำลังรับแรงกดของคอนกรีต – 135
4.12 แผ่นเหล็กรองรับแรงกดสำหรับเสา – 140
4.13 รูเจาะในคาน – 147
4.14 การเสริมคานเหล็กรูปพรรณและคานเหล็กประกอบ – 149
บทที่ 5 ส่วนโครงสร้าง คาน – เสา 154 – 200
5.1 ส่วนโครงสร้าง คาน – เสา – 154
5.2 พฤติกรรมการรับน้ำหนักและลักษณะวิบัติ – 155
5.3 ข้อกำหนดสำหรับส่วนโครงสร้าง คาน -เสา – 157
5.4 วิธีออกแบบส่วนโครงสร้าง คา่น -เสา – 175
5.5 ส่วนโครงสร้างรับโมเมนต์ดัดสองทาง – 189
5.6 แผ่นเหล็กรองใต้เสาที่รับโมเมนต์ดัด – 194
บทที่ 6 การต่อโครงสร้างโดยใช้ตัวยึด 201 – 256
6.1 การต่อโครงสร้างโดยใช้ตัวยึด – 201
6.2 ลักษณะวิบัติของรอยต่อยึด – 205
6.3 ประเภทของรอยต่อยึด – 207
6.4 ข้อกำหนดสำหรับรอยต่อยึดแบบรับแรงกด – 208
6.5 ข้อกำหนดสำหรับรอยต่อยึดแบบเลื่อนวิกฤต – 211
6.6 ระยะห่างและระยะขอบของรอยต่อยึด – 212
6.7 การออกแบบรอยต่อยึด – 213
6.8 การต่อปลายคานในโครงอาคาร – 235
บทที่ 7 กาาต่อโครงสร้างโดยการเชื่อม 257 – 322
7.1 การต่อโครงสร้างโดยการเชื่อม – 257
7.2 ประเภทของรอยต่อเชื่อม – 258
7.3 การวิบัติของรอยต่อเชื่อมและเนื้อที่ประสิทธิผลของรอยเชื่อม – 260
7.4 กำลังของรอยต่อเชื่อม – 262
7.5 สัญลักษณ์มาตรฐานของการเชื่อม – 268
7.6 การวิเคราะห์หาหน่วยแรงบนรอยต่อเชื่อม – 270
7.7 การออกแบบรอยต่อเชื่อมรับแรงร่วมศูนย์ – 271
7.8 การออกแบบรอยต่อเชื่อมรับแรงเยื้องศูนย์ – 283
7.9 การต่อปลายคานในโครงอาคาร – 288
7.10 การเสริมกำลังให้กับเสา (หรือคาน) – 304
บทที่ 8 คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ 323 – 373
8.1 คานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ – 323
8.2 ลักษณะวิบัติของคานเหล็กประกอบ – 324
8.3 ข้อกำหนดสำหรับคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ – 326
8.4 การออกแบบคานเหล็กประกอบขนาดใหญ่ – 355
8.5 การลดจำนวนแผ่นเหล็กปีกคาน – 369
8.6 การต่อแผ่นเหล็กปีกคานกับเหล็กฉากปีกคาน – 370
8.7 การต่อเหล็กแผ่นตั้งกับเหล็กปีกคาน – 371
8.8 การต่อเหล็กแผ่นตั้ง – 372
บทที่ 9 ส่วนโครงสร้างรับโมเมนต์บิด 374 – 386
9.1 จุดศูนย์กลางแรงเฉือน – 374
9.2 กำลังต้านทานโมเมนต์บิด – 376
9.3 มุมบิด – 378
9.4 การออกแบบส่วนโครงสร้างรับโมเมนต์บิดร่วมกับแรงกระทำอื่น – 378
บทที่ 10 ส่วนโครงสร้างเชิงประกอบ 387 – 427
10.1 เสาเหล็กเชิงประกอบ – 387
10.2 การออกแบบเสาเหล็กเชิงประกอบ – 389
10.3 คานเหล็กเชิงประกอบ – 393
10.4 พฤติกรรมของคานเหล็กเชิงประกอบ – 395
10.5 ข้อกำหนดสำหรับคานเหล็กเชิงประกอบแบบใช้ตัวยึดรับแรงเฉือน – 398
10.6 การออกแบบคานเหล็กเชิงประกอบบางส่วน – 405
10.7 การออกแบบคานเหล็กรูปพรรณหุ้มด้วยคอนกรีต – 406
10.8 การโก่งตัวของคานเหล็กเชิงประกอบ – 408
10.9 การออกแบบคาน – เสาเชิงประกอบ – 423
ภาคผนวก ก สัญลักษณ์ 428 – 433
ภาคผนวก ข ตารางช่วยการออกแบบ 434 – 464
บรรณานุกรม 465
Be the first to comment