
ประเพณีทางรัฐธรรมนูญ ปวริศร เลิศธรรมเทวี ราคา 225 บาท
ราคา
225
บาท
ราคา
225
บาท
ประเพณีทางรัฐธรรมนูญ ปวริศร เลิศธรรมเทวี
ผู้แต่ง : ปวริศร เลิศธรรมเทวี
ปีที่พิมพ์ : ครั้งที่ 1 : กุมภาพันธ์ 2561
จำนวนหน้า: 408 หน้า
ขนาด : 14.5×21 ซ.ม. A5
รูปแบบ : ปกอ่อน
9789742036911
คำนำ
หนังสือเรื่อง ประเพณีทางรัฐธรรมนูญ มีที่มาจากโครงการวินิจฉัยของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ เรื่อง “การนำประเพณีในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีรัฐธรรมนูญ” ซึ่งข้าพเจ้าได้ทำการวินิจฉัยให้กับสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญเมื่อปี 2560
ข้าพเจ้าได้พิจารณาเห็นว่า ประเพณีทางรัฐธรรมนูญ เป็นเรื่องที่ควรรู้ไม่จำกัดเฉพาะในวงการนักศึกษา นักวิชาการเท่านั้น แต่ยังจำเป็นต้องรู้อย่างยิ่งสำหรับนักการเมืองและประชาชนทั่วไป เนื่องจากประเพณีทางรัฐธรรมนูญเป็นกลไกสำคัญที่คอยควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของสถาบันทางการเมืองให้เป็นไปตามกรอบและขอบเขตภายใต้รัฐธรรมนูญ ฉะนั้น การที่สำนักพิมพ์นิติธรรมได้ตระหนักถึงความสำคัญและรับจัดพิมพ์หนังสือดังกล่าว จึงเป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง
หนังสือเล่มนี้ได้รับประโยชน์จากมุมมองของนักวิชาการด้านรัฐธรรมนูญ รัฐศาสตร์และกฎหมายระหว่างประเทศหลายท่าน อาทิ Justice Michacl Kirby (High Court of Australia), Professor Tom Ginsbueg at Uni-versity of Chicago, Professor Andrew Harding at National University of Singapore, Professor Hilaire Barnett at Univesity of London, Professor Graham Dutfield at Univesity of London, Professor Brian Galligan at Univesity of Melbourne, Professor Tim Stephen at Univesity of Sydney, Jeff King at Univesity College London, Professor Robert Hazell at Uni-versity College London และ Professor Kaku Shun at Hokkeido Univesity จึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้
ดร. ปวริศร เลิศธรรมเทวี
สิงหาคม 2560
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญเอกสารกฎหมายรัฐธรรมนูญ
สารบัญคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 นิติวิธีว่าด้วยการตีความ : หลักการทั่วไป กรอบทฤษฎีและแนวปฏิบัติ
2.1 บทนำ
2.2 หลักการตีความกฎหมายโดยทั่วไป
2.2.1 การค้นหาความหมาย
2.2.2 การตีความโดยคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างลำดับศักดิ์แห่งกฎหมาย
2.2.3 การตีความโดยคำนึงถึงความสัมพันธ์ของเนื้อหาบทบัญญัติกฎหมายทั้งฉบับ
2.2.4 การตีความโดยคำนึงถึงหลักการ เหตุผล และเจตนารมณ์แห่งกฎหมายของผู้ร่าง ฯ
2.3 ทฤษฎีว่าด้วยการตีความกฎหมาย
2.3.1 ทฤษฎี “Literal Rule
2.3.2 ทฤษฎี “Mischief Rule”
2.3.3 ทฤษฎี “Golden Rule”
2.3.4 ทฤษฎี “Purposive Approach”
2.4 แนวทางการตีความกฎหมายในลักษณะต่าง ๆ
2.4.1 การตีความกฎหมายของประเทศ Common Law
(1) การตีความตามตัวอักษร (Textual)
(2) การตีความโดยคำนึงถึงสาระสำคัญ (Subatantive)
(3) การตีความโดยอนุโลม (Deference)
2.4.2 การตีความกฎหมายของประเทศ Civil Law โดยเฉพาะประเทศยุโรป
(1) การตีความตัวอักษร (Grammatical Interpretation)
(2) การตีความโดยคำนึงถึงรากประวัติศาสตร์กฎหมาย (Historical Interpretation)
(3) การตีความโดยคำนึงถึงความสอดคล้องเป็นระบบของกฎหมาย (Systematic Interpretation)
(4) การตีความโดยคำนึงถึงความมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์แห่งกฎหมาย (Teleological Interpretation)
2.5 บทสรุป
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญกับประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3.1 บทนำ
3.2 ความเป็นมาของการนำประเพณีในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีรัฐธรรมนูญ
3.2.1 รัฐธรรมนูญที่มิได้มีการบัญญัติเรื่องการนำประเพณีการปกครองมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีรัฐธรรมนูญ
3.2.2 ธรรมนูญการปกครองหรือรัฐธรรมนูญชั่วคราว
(1) ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502
(2) ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515
(3) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
(4) ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2520
(5) ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
(6) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549
(7) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
3.2.3 รัฐธรรมนูญฉบับถาวร
(1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
(2) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
3.3 แนวคำวินิจฉัยขององค์กรวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
3.3.1 แนวคำวินิจฉัยขององค์กรวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญโดยรัฐสภา
3.3.2 แนวคำวินิจฉัยขององค์กรวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญโดยศาลยุติธรรม
3.3.3 แนวคำวินิจฉัยขององค์กรวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญโดยคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ
3.3.4 แนวคำวินิจฉัยขององค์กรวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญโดยหัวหน้าฝ่ายบริหารเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด
3.3.5 แนวคำวินิจฉัยของรัฐธรรมนูญ
(1) คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 6/2543
(2) คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 3/2559
3.3.6 นิติวิธีที่ได้จากแนวคำวินิจฉัยของศาลเกี่ยวกับการนำประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาใช้ในการพิจารณาวินิจฉัยคดีรัฐธรรมนูญ
(1) เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่จะปรับใช้แก่กรณี
(2) หลักการที่มีการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญหลายฉบับที่ผ่าน
(3) หลักการที่ต้องเป็นที่ยอมรับ (Accepted Norms)
(4) หลักการต้องเกี่ยวข้องกับหลักการพื้นฐานทางรัฐธรรมนูญ
(5) หลักการต้องเกี่ยวข้องกับหลักการของระบอบการปกครอง
(6) หลักการต้องถูกต้องตามทำนองคลองธรรม หรือตามหลักนิติธรรม (Rule of Law)
3.4 เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์กับการสร้างประเพณีทางรัฐธรรมนูญของไทย
3.4.1 การสืบราชสมบัติ
3.4.2 นายกรัฐมนตรีพระราชทาน
3.4.3 การลงพระปรมาภิไธย
3.4.4 การปฏิบัติรัฐประหาร
3.4.5 พระราชวินิจฉัย
3.4.6 การอภัยโทษ
3.5 บทสรุป
บทที่ 4 การปกครองในระบอบกษัตริย์ : ภูมิและประเพณีทางรัฐธรรมนูญ
4.1 บทนำ
4.2 การปกครองในระบอบกษัตริย์
4.2.1 ตำแหน่งและลำด
Be the first to comment