
หนังสือกฎหมายสถาบันการเงิน ภาคความผิด วีระชาติ ศรีบุญมา ราคา 144 บาท
ราคา
144
บาท
ราคา
144
บาท
กฎหมายสถาบันการเงิน ภาคความผิด วีระชาติ ศรีบุญมา
ผู้แต่ง : วีระชาติ ศรีบุญมา
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2560
จำนวนหน้า: 233 หน้า
ขนาด : 14.5×21 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
สารบัญ
บทที่ 1 วิกฤตสถาบันการเงินไทยกับการป้องกัน
และการแก้ไขปัญหาในเชิงกฎหมาย
1.วิกฤตสถาบันการเงินไทยกับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น
2.วิเคราะห์ข้อเท็จจริง
3.แนวทางแก้ไข
บทที่ 3 การกระทำความผิดเกี่ยวกับสถาบันการเงินกับกรณีศึกษาของประเทศไทย
1.ความผิดตามกฎหมายสถาบันการเงิน
2.สถาบันการเงินที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย
3.ประเภทความรับผิดตามกฎหมายสถาบันการเงิน
4.กรณีศึกษาของประเทศไทย
บทที่ 3 กฎหมายสถาบันการเงิน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิด
1.กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2.คำอธิบายบทกำหนดโทษ (เรียงมาตรา)
3.อำนาจพิเศษ
บทที่ 4 การดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีธนาคารพาณิชย์
บริษัทเงินทุนและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์
1.โครงสร้างการดำเนินคดีสถาบันการเงิน
1.1ความรับผิดที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต
1.1.1การวินิจฉัยความรับผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.2551
1.1.2ความหมายของการกระทำทุจริตในเชิงปฏิบัติการของธนาคารแห่งประเทศไทย
1.1.3ตัวอย่างโครงสร้างคดีทุจริตสถาบันการเงิน
1.1.4ลักษณะ/ข้อเท็จจริงที่บ่งชี้การกระทำที่ทุจริต
1.1.5ตัวอย่างพฤติกรรมการให้สินเชื่อหรือการให้กู้ยืม
1.1.5.1อนุมัติสินเชื่อโดยผิดปกติเป็นนัยสำคัญ
1.1.5.2กระทำผิดหน้าที่ในฐานะผู้บริหารสถาบันการเงินพึงปฏิบัติ
1.1.5.3พบพยานหลักฐานที่แสดงการแสวงหาประโยชน์ในลักษณะที่เป็น
ทรัพย์สินหรือทางอื่นใดสำหรับตนเองหรือพวกพ้องโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
1.1.5.4เกิดความเสียหายในลักษณะที่เป็นทรัพย์สินแก่สถาบันการเงิน
1.2ความรับต่อการกำกับดูแล
1.2.1การลงโทษเปรียบเทียบปรับ
1.2.2สถิติการเปรียบเทียบปรับ
1.2.3การร้องทุกข์กล่าวโทษสำหรับคดีที่มาเปรียบเทียบปรับ
1.3อำนาจในการปกครองในการยึด อายัดทรัพย์ และห้ามออกนอกราชอาณาจักร
1.3.1อำนาจพิเศษตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.2551
1.3.2อำนาจในการห้ามออกนอกราชอาณาจักร
2.ข้อเปรียบเทียบทฤษฎีสมคบคิดและวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 การดำเนินกระบวนการพิจารณาคดีธนาคารของรัฐหรือสถาบันการเงินของรัฐ
1.โครงสร้างการดำเนินคดีสถาบันการเงินของรัฐ
2.กระบวนการไต่สวนข้อเท็จจริงคดีทุจริตธนาคารของรัฐ
หรือสถาบันการเงินของรัฐในชั้น ป.ป.ช.
3.ตัวอย่างคดี คดีทุจริตธนาคารกรุงไทย
ตามคำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ที่อม. 55/2558
บทที่ 6 อำนาจและหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบังคับใช้กฎหมายสถาบันการเงิน
1.อำนาจหน้าที่ของหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย
1.1ธนาคารแห่งประเทศไทย
1.2กรมสอบสวนคดีพิเศษ หรือ DSI
1.3สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช.)
1.4สำนักงานอัยการสูงสุด
1.5ศาลยุติธรรม
1.6หน่วยงานการกำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ของสถาบันการเงิน (Compliance)
2.ประกาศที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 7 แนวทางการติดตามทรัพย์สินในคดีทุจริตสถาบันการเงินทั้งในและต่างประเทศ
1.ปัญหาการติดตามทรัพย์สินในคดีทุจริตสถาบันการเงิน
2.แนวทางการดำเนินการติดตามทรัพย์สินคืนในประเทศ
3.แนวทางในการดำเนินการติดตามทรัพย์สินคืนนอกประเทศ
4.กรณีศึกษา
ภาคผนวก
พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.2551
Be the first to comment