คำอธิบาย กฎหมายจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ ภาสพงษ์ เรณุมาศ ราคา 234 บาท
ราคา
234
บาท
ราคา
234
บาท
คำอธิบาย กฎหมายจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ ภาสพงษ์ เรณุมาศ
ผู้แต่ง : ภาสพงษ์ เรณุมาศ
พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2566
จำนวนหน้า : 254 หน้า
ขนาด : – (E) attorney285
รูปแบบ : ปกอ่อน
9789742039080
หนังสือ “ดำอธิบาย กฎหมายจัดตั้งศาดรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคคีรัฐธรรมนูญ”
เล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นโดยมีวัตถุประตงค์เพื่อให้นักศึกษาหรือผู้ที่ตนใจเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของ
ศาดรัฐธรรมนูญและวิธีพิจารณาคดีรัฐธวรมนูญได้มีฐานข้อมูในการศึกษา อ้างอีง และต้นคว้า
เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน ศึกษาต่อ หรือเดรียมตัวสอบในสนามด่าง ๆ รวมถึงให้ผู้ที่ตนใจหรือ
ทนายความได้ใช้เป็นคู่มือและแนวทางในการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาตรัฐธรรมนูญตั้งแต่
ชั้นเสนอคำร้อง จนถึงวันที่ตากรัฐธรรมนูญมีดำวินิจฉัยหรือดำสั่ง ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทำให้
ผู้เขียนใช้สรรพกำลังในการรวบรวมและศึกษาค้นคว้ามาเรียบเรียงหนังสือเล่มนี้ให้แล้วเสร็จ
เพื่อให้หนังสือเล่มนี้มีความสมบูรณ์ทั้งในทางวิชาการและทางปฏิบัติมากที่สุด โดยหนังสือเล่มนี้
ผู้เขียนได้แบ่งหัวข้อสำคัญออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่งความรู้เบื้องตันเกี่ยวกับองค์กร
ศาลรัฐธรรมนูญ ส่วนที่สองเขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ และส่วนที่สามวิธีพิจารณาคดี
รัฐธรรมนูญ เพื่อให้ตรอบคลุมเนื้อหาทางรัฐธรมนูญ กฎหมาย ระเบียบและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง
ทั้งหมด รวมทั้งได้มีการนำแนวคำวินิจฉัยและคำสั่งของศาดรัฐธรรมนูญมาสอดแทรกในแต่ละส่วน
เพื่อให้เห็นถึงการปรับใช้ตัวบทกฎ หมายของศาลรัฐชรรมนูญ อันจะทำให้ผู้อ่านมีความเข้าใจ
ในเรื่องดังกล่าวมากกว่าการอ่านตัวบทกฎหมายเพียงอย่างเดียว นอกจากนั้น ผู้เขียนยังนำแนว
ดำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองสูงสุดมาสอดแทรกและเทียบเคียงในฐานะที่เป็นศาล
ในระบบไก่สวนเช่นเดียวกัน เพื่อให้เห็นถึงการดีความกฎหมายและแนวทางการแก้ไขปัญหา
ในบางประเด็นซึ่งอาจเกิดขึ้นที่ศาลรัฐธรรมนูญในอนาคต ทั้งยังมีการรวบรวมแนวคำถาม
พร้อมธงคำตอบที่มาจากการสอบในชั้นนดิบัณท้ด ผู้ช่วยผู้พิพากษา และอัยการผู้ช่วย มาเรียบเรียง
เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นถึงทิศทางของข้อสอบและแนวทางในการตอบ อันจะเป็นประโยชน์ต่อ
การเตรียมตัวสอบในสนามนั้น ๆ ต่อไป
หากเนื้อหาของหนงสือเล่มนี้มีข้อผิดพ าดหรือกตาดเคลื่อนประการใด ผู้เขียนขอน้อมรับ
ข้อบกพร่อง และข้อวิจารณ์เพื่อนำไปปรับปางแก้ไขหนังสีอเมนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป
สารบัญ attorney285
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์กรศาลรัฐธรรมนูญ
1.1 ความเป็นมาของการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญ
1.2 องค์ประกอบและที่มาของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
1.3 คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
1.4 กระบวนการคัดเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญสายผู้พิพากษาหรือ
ตุลาการโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา หรือที่ประชุมใหญ่ตุลาการ
ในศาลปกครองสูงสุด
1.5 กระบวนการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญสายผู้ทรงคุณวุฒิ
โดยคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
1.5.1 คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
1) องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา
2) อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา
1.5.2 กระบวนการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
1.6 การให้ความเห็นชอบบุคคลที่ได้รับการคัดเลือก
หรือสรรหาในชั้นวุฒิสภา
1.7 การถวายสัตย์ปฏิญาณ และวาระการดํารงตําแหน่ง
1.8 การได้รับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง ประโยชน์ตอบแทนอื่น
และบําเหน็จตอบแทน
1.9 การปฏิบัติหน้าที่ การเข้ารับการศึกษาหรืออบรม
การหยุดและการงดปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการ
1.10 การแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเป็นการชั่วคราว
และการแต่งตั้งผู้ทําหน้าที่ตุลาการเฉพาะคดี
1.11 การพ้นจากตําแหน่ง และการปฏิบัติหน้าที่ภายหลังพ้นจากตําแหน่ง
1.12 หน้าที่และอํานาจของประธานศาลรัฐธรรมนูญ
1.13 เขตอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญ
1.14 หน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญนอกเหนือจากการวินิจฉัยคดีรัฐธรรมนูญ
1.15 หน่วยงานที่รับผิดชอบงานธุรการของศาลรัฐธรรมนูญ
บทที่ 2 เขตอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญ
2.1 คดีเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างรัฐธรรมนูญ
แก้ไขเพิ่มเติม ร่างกฎหมาย หรือร่างข้อบังคับ
2.1.1 การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างรัฐธรรมนูญ
แก้ไขเพิ่มเติม
1) ผู้มีสิทธิยื่นคําร้อง และผู้มีสิทธิริเริ่ม
2) เหตุแห่งความไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
3) ระยะเวลาพิจารณาวินิจฉัย และผลของคําวินิจฉัย
2.1.2 การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของ
ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
1) ผู้มีสิทธิยื่นคําร้อง และผู้มีสิทธิริเริ่ม
2) ขอบเขตแห่งการตรวจสอบ
3) ผลของคําวินิจฉัย
4) แนวคําวินิจฉัยหรือคําสั่งศาลรัฐธรรมนูญ
2.1.3 การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างพระราชบัญญัติ
1) ผู้มีสิทธิยื่นคําร้องและผู้มีสิทธิริเริ่ม
2) ขอบเขตแห่งการตรวจสอบ
3) ผลของคําวินิจฉัย
4) แนวคําวินิจฉัยหรือคําสั่งศาลรัฐธรรมนูญ
2.1.4 การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของร่างข้อบังคับ
การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ร่างข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา
และร่างข้อบังคับการประชุมรัฐสภา
1) ผู้มีสิทธิยื่นคําร้อง และผู้มีสิทธิริเริ่ม
2) ขอบเขตแห่งการตรวจสอบ
3) ผลของคําวินิจฉัย
attorney285
2.1.5 การวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อรัฐสภามีหลักการ
อย่างเดียวกันหรือคล้ายกันกับหลักการของร่างพระราชบัญญัติ
ที่ต้องยับยั้งไว้หรือไม่
1) ผู้มีสิทธิยื่นคําร้อง และผู้มีสิทธิริเริ่ม
2) ขอบเขตแห่งการตรวจสอบ
3) ผลของคําวินิจฉัย
2.1.6 การวินิจฉัยว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือ
กรรมาธิการ กระทําการใดเพื่อให้ตนมีส่วนโดยตรงหรือโดยอ้อม
ในการใช้งบประมาณรายจ่าย หรือไม่
1) ผู้มีสิทธิยื่นคําร้อง และผู้มีสิทธิริเริ่ม
2) ขอบเขตแห่งการตรวจสอบ
3) ระยะเวลาพิจารณาวินิจฉัย และผลของคําวินิจฉัย
4) แนวคําวินิจฉัยหรือคําสั่งศาลรัฐธรรมนูญ
2.1.7 การวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของเงื่อนไข
การตราพระราชกําหนด
1) ผู้มีสิทธิยื่นคําร้อง และผู้มีสิทธิริเริ่ม
2) เหตุแห่งความไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
3) ระยะเวลาพิจารณาวินิจฉัย และผลของคําวินิจฉัย
4) แนวคําวินิจฉัยหรือคําสั่งศาลรัฐธรรมนูญ
2.2 คดีเกี่ยว
Be the first to comment