
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (คำอธิบาย) พร้อมคำพิพากษา คำวิเคราะห์ ราคา 390 บาท
ราคา
390
บาท
ราคา
390
บาท
สินค้าใกล้หมด
สารบัญ เล่มนี้
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
(คำอธิบายพร้อมวิเคราะห์) พิมพ์ครั้งที่ 2
พร้อมคำอธิบาย, คำพิพากษาศาลฎีกา
และการวิเคราะห์คำพิพากษา
โดย นายสนิท สนั่นศิลป์
ISBN 9789745207134 (พิมพ์ครั้งที่ 1)
ISBN 9786163946898 (พิมพ์ครั้งที่ 2)
คำนำ (พิมพ์ครั้งที่ ๒)
หนังสือชุดนี้สืบเนื่องจากชุดก่อนๆ ซึ่งจะต้องมีไว้ประกอบกันเพราะหนังสือชุดก่อน ๆ จะมีคำอธิบายเกี่ยวกับ
ตัวบทกฎหมายไว้ และได้กล่าวไว้แล้วว่า พ.ร.บ.ควบคุมอาคารฯ เป็นกฎหมายปกครอง และเป็นสาขาหนึ่ง
ของกฎหมายมหาชน มีสภาพบังคับ ๒ อย่าง คือ
๑. สภาพบังคับทางอาญา : ผู้กระทำการฝ่าฝืนจะมีบทลงโทษทางอาญา จำคุก หรือ ปรับ และถูกดำเนินคดี
ในศาลยุติธรรม
๒. สภาพบังคับทางปกครอง : ผู้ดำเนินการฝ่าฝืน เจ้าพนักงานท้องถิ่น จะมีคำสั่งต่างๆ และบังคับแก่ ตัว
อาคารที่ฝ่าฝืนฯ ผู้รับคำสั่งจะต้องใช้สิทธิอุทธรณ์คำสั่งต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ถ้าคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ มีคำวินิจฉัย แล้ว ถ้าไม่เห็นด้วย ก็ต้องนำคดีเสนอต่อศาลปกครอง ซึ่งมี ๒ ศาล คือ ศาล
ปกครองชั้นต้น กับศาลปกครองสูงสุด (ต่างกับศาลยุติธรรมที่มี ๓ ศาล)
วิธีพิจารณาคดีปกครอง แตกต่างจากวิธีพิจารณาคดีในศาลยุติธรรม เพราะศาลปกครองใช้ระบบไต่สวน ชั้น
ยื่นคำฟ้อง คำให้การ มีขั้นตอนมากกว่าศาลยุติธรรม ดังนั้น ในการนำคำพิพากษามาลงไว้ จึงไม่อาจนำคำฟ้อง
คำให้การฯ มาลงได้ เพราะจะทำให้หนังสือ หนา เพิ่มต้นทุน จึงเห็นควรนำมาลงตั้งแต่ ศาล
พิเคราะห์….และประเด็นต่างๆ ที่ศาลยกขึ้นพิจารณาและวินิจฉัย เท่านั้น เมื่อจบคำพิพากษาแล้ว ผู้เขียนก็จะ
วิเคราะห์ว่า คดีนั้นๆ ศาลพิพากษา/วินิจฉัยอย่างนั้น เพราะเหตุผลอย่างไร
นายสนิท สนั่นศิลป์
สารบัญ
คำปรารภ : ชื่อ, วันบังคับใช้
บทนิยาม การออกกฎกระทรวง
มาตรา ๔
– ฎ.๗๖๒๒/๒๕๕๐
– ฎ.๕๖๙๓/๒๕๔๙
– ฎ.๔๘๐๖/๒๕๔๓
– ฎ.๓๓๔๒/๒๕๔๑ โครงสร้าง (ทั่วไป) หรือ โครงสร้างหลัก
– ฎ.๖๒๔๕/๒๕๔๐
– ฎ.๓๐๔๘/๒๕๓๗ อุทิศฯ เป็นสาธารณะ แม้เป็นทางต้นก็ได้
– ฎ.๒๓๒๕/๒๕๓๗
– ฎ.๘๘๔/๒๕๓๕ กฎหมายบัญญัตินิยามไว้แล้ว จะนำกฎหมายอื่นหรือ พจนานุกรมมาปรับไม่ได้
– ฎ.๘๓๑/๒๕๓๔
– ฎ.๓๑๘๖/๒๕๓๓
มาตรา ๕
หมวด ๑ บททั่วไป ม.๖ – ๑๓ ตรี
มาตรา ๖
มาตรา ๗
มาตรา ๘
มาตรา ๘ ทวิ
มาตรา ๙
– ฎ.๖๙๐/๒๕๓๑
มาตรา ๑๐
มาตรา ๑๐ ทวิ
มาตรา ๑๑
มาตรา ๑๒
มาตรา ๑๓
มาตรา ๑๓ ทวิ
มาตรา ๑๓ ตรี
หมวด ๒ คณะกรรมการควบคุมอาคาร ม. ๑๔ – ๒๐
มาตรา ๑๔
มาตรา ๑๕
มาตรา ๑๖
มาตรา ๑๗
มาตรา ๑๘
มาตรา ๑๙
มาตรา ๒๐
หมวด ๓ การก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนย้ายและใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคาร ม.๒๑ – ๓๙ ตรี
มาตรา ๒๑
– ฎ.๑๒๔๐/๒๕๔๙
– ฎ.๒๓๗๗/๒๕๔๕
– ฎ.๔๖๘/๒๕๔๓
– ฎ.๕๖๑๖/๒๕๓๙
– ฎ.๑๕๖๓/๒๕๓๗
มาตรา ๒๑ ทวิ
มาตรา ๒๒
– ฎ.๒๘๓๐/๒๕๓๗
มาตรา ๒๓ และ มาตรา ๒๔ (ยกเลิก)
มาตรา ๒๕
– ฎ.๒๘๕๖/๒๕๓๗
มาตรา ๒๖
– ฎ.๕๓๙๙/๒๕๓๖
าตรา ๒๗
มาตรา ๒๘
– ฎ.๓๗๙๓/๒๕๔๓
มาตรา ๒๘ ทวิ
มาตรา ๒๙
มาตรา ๓๐
มาตรา ๓๑
– ฎ.๕๖๙๓/๒๕๔๙
– ฎ.๗๖๖๕/๒๕๔๓
– ฎ.๖๖๖๘/๒๕๔๒
– ฎ.๗๗๙ – ๗๘๐/๒๕๔๐
– ฎ.๒๔๑๔/๒๕๓๕
– ฎ.๓๗๓/๒๕๓๖
– ฎ.๓๙๑๗/๒๕๓๓
– ฎ.๒๔๘๒/๒๕๓๓
มาตรา ๓๒
– ฎ.๘๗๗/๒๕๓๕
– ฎ.๓๑๘๕/๒๕๓๓
มาตรา ๓๒ ทวิ
มาตรา ๓๒ ตรี
มาตรา ๓๓
– ฎ.๓๖๑๖/๒๕๔๖
มาตรา ๓๔
มาตรา ๓๕
มาตรา ๓๖
มาตรา ๓๗
มาตรา ๓๘
มาตรา ๓๙
มาตรา ๓๙ ทวิ
มาตรา ๓๙ ตรี
หมวด ๓ ทวิ การอนุญาตให้ใช้อาคารเพื่อประกอบกิจการเกี่ยวกับโรงมหรสพ
มาตรา ๓๙ จัตวา
มาตรา ๓๙ เบญจ
มาตรา ๓๙ ฉ
หมวด ๔ อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น ม.๔๐ – ๔๙ ทวิ
มาตรา ๔๐
– ฎ.๕๘๐๕/๒๕๔๔
– ฎ.๒๑๑๗/๒๕๔๒
– ฎ.๕๘๔๘/๒๕๓๔
มาตรา ๔๑
– ฎ.๘๘๔๗/๒๕๔๓
มาตรา ๔๒
– ฎ.๕๙๑๔/๒๕๔๕
– ฎ.๕๕๗/๒๕๔๔
– ฎ.๔๗๓๓/๒๕๔๑
– ฎ.๒๕๑๔/๒๕๔๑
– ฎ.๖๔๐๘/๒๕๓๙
– ฎ.๕๓๙๐/๒๕๓๘
– ฎ.๓๓๐๓/๒๕๓๗
– ฎ.๓๐๔๗/๒๕๓๗
– ฎ.๒๖๖๘/๒๕๓๗
– ฎ.๑๐๔๑/๒๕๓๗ แนวถนน (ผิวจราจร + ทางเท้า)
– ฎ.๒๕๓๗/๒๕๓๖
– ฎ.๔๘๔/๒๕๓๕
– ฎ.๓๕๖/๒๕๓๕
– ฎ.๓๔๒๕/๒๕๓๔
– ฎ.๑๕๒๖/๒๕๓๔
– ฎ.๗๔๑/๒๕๓๔
– ฎ.๓๙๙๔/๒๕๓๓ กฎหมายมิได้บัญญัติให้อำนาจศาลใช้ดุลพินิจในการสั่ง ไม่รื้อถอน
– ฎ.๓๙๘๒/๒๕๓๓
– ฎ.๓๓๔๒/๒๕๓๓
– ฎ.๒๙๙๒/๒๕๓๓ รับโอนมา (ต้องรับผิดทางปกครอง)
ฯลฯ
Be the first to comment